[
๑ ]
"นายใน"
สมัยรัชกาลที่ ๖, หน้า
[
๒ ]
ในเวลานั้นปีปฏิทินของไทยยังคงเริ่มต้นปีในวันที่
๑ เมษายน และไปสิ้นสุดปีในวันที่ ๓๑ มีนาคม
เพิ่งจะมาเปลี่ยนปีวันขึ้นใหม่เป็นวันที่ ๑
มกราคม เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๔ ด้วยเหตุนี้ใน พ.ศ.
๒๔๘๓ จึงมีเพียง ๙ เดือน คือ วันที่ ๑ มกราคม
- ๓๑ ธันวาคม)
[
๓ ]
ระหว่างวันที่ ๙ พฤษภาคม – ๑๒ สิงหาคม พ.ศ.
๒๔๓๙
[
๔ ]
นามเดิม นพ ไกรฤกษ์
ต่อมาได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น
พระยาบุรุษรัตนราชพัลลภ.
[
๕ ]
เป็นชาวเบลเยี่ยม
เคยเป็นเสนาบดีของประเทศเบลเยี่ยมมาก่อน.
[
๖
]
พระยาบุรุษรัตนราชพัลลภ
(นพ ไกรฤกษ์). บุรุษรัตน, หน้า (๑๑) - (๑๓).
[
๗ ]
นามเดิม
ม.ล.วราห์ กุญชร ฤกษ์
ต่อมาได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นเจ้าหมื่นไวยวรนารถ
และเป็นพระยาเทเวศรวงศ์วิวัฒน์ ในรัชกาลที่ ๖
[
๘ ]
นามเดิม อ้น นรพัลลภ
ต่อมาได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นเจ้าหมื่นเสมอใจราช
และเป็นพระยานิพัทธราชกิจ ในรัชกาลที่ ๖
[
๙ ]
นามเดิม ชม นิมิหุต
ต่อมาได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นหลวงสิทธิ
นายเวร
[
๑๐
]
นายเพิ่ม ไกรฤกษ์ ต่อมาในรัชกาลที่ ๖
ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น
พระยาประเสริฐศุภกิจ
[
๑๑
] บุรุษรัตน,
หน้า (๑๗).
[
๑๒
]
เรื่องเดียวกัน, หน้า (๒๘)
[
๑๓
] "นายใน"
สมัยรัชกาลที่ ๖, หน้า ๖ - ๗.